[seopress_breadcrumbs]

PROPHYLAXIS ANTIBIOTIC IN PEDIATRIC SURGERY

Introduction

การให้ยาปฏิชีวนะเพื่อป้องกันการติดเชื้อจากการผ่าตัดในผู้ป่วยเด็ก มีเป้าหมายเพื่อป้องกันไม่ให้เกิดการติดเชื้อบริเวณที่ตำแหน่งแผลผ่าตัดภายหลังการผ่าตัด (surgical site infection)

CLINICAL

GENERAL PRINCIPLE

  • การติดเชื้อแผลผ่าตัด (surgical site infection: SSI) เป็นภาวะแทรกซ้อนที่พบได้ประมาณร้อยละ 2 ของการผ่าตัด ทำให้จำนวนวันนอนโรงพยาบาลและความเสี่ยงต่อการเสียชีวิตของผู้ป่วยเพิ่มขึ้น
  • ปัจจัยแห่งความสำเร็จของการให้ยาปฏิชีวนะอย่างเหมาะสมได้แก่ กระบวนการให้ความรู้และกำกับติดตามการปฏิบัติตามแนวทางนี้แก่ศัลยแพทย์และทีมสหสาขาวิชาชีพที่เกี่ยวข้องเพื่อสร้างความเข้าใจและตระหนักถึงความสำคัญของการป้องกันการติดเชื้อ
  • แนะนำการให้ยาปฏิชีวนะก่อนเริ่มการผ่าตัดในหัตถการที่มีความเสี่ยงปานกลางถึงความเสี่ยงสูงต่อการติดเชื้อ หรือหัตถการที่การติดเชื้อส่งผลให้เกิดภาวะแทรกซ้อนระยะยาวตามมา เช่น การปลูกถ่ายอวัยวะเทียมในการผ่าตัดหัวใจ

COMMON PATHOGENS

INDICATIONS

การให้ยาปฏิชีวนะเพื่อป้องกันการติดเชื้อให้พิจารณาจากลักษณะความเสี่ยงต่อการติดเชื้อของแผลผ่าตัดดังนี้

  1. แผลสะอาด (clean wound)
  • แผลผ่าตัดที่มีการเตรียมการล่วงหน้า (elective surgery) โดยแผลผ่าตัดไม่ได้ผ่าผ่านเนื้อเยื่อที่มีการอักเสบหรือติดเชื้อ ไม่ผ่านระบบทางเดินหายใจ ทางเดินอาหาร ทางเดินปัสสาวะและระบบสืบพันธุ์ ระหว่างทำหัตถการที่ไม่มีละเมิดมาตรการปลอดเชื้อ (break in aseptic technique) มีการเย็บปิดแผลหลังผ่าตัด (primary closure) โดยไม่ใส่ท่อระบายหรือระบายแบบเปิด (open drainage)

TREATMENTS

ยาปฏิชีวนะที่แนะนำเพื่อป้องกันการติดเชื้อแผลผ่าตัดในหัตถการต่างๆ

Neonatal Surgery
Cardiac Surgery
Gastrointestinal/Abdominal Surgery
Genitourinary Surgery
Head and Neck Surgery
Neurosurgery
Eye Surgery
Orthopedic Surgery
Thoracic Surgery
Traumatic Wound

ชนิดของหัตถการ แบคทีเรียที่อาจก่อโรค ยาปฏิชีวนะที่แนะนำ
 Neonatal Surgery
อายุ ≤72 ชั่วโมง
หัตถการหลักทุกชนิด
Group B streptococci,
Enteric gram-negative bacilli,
Enterococci,
Coagulase-negative staphylococci
  • Ampicillin 50 mg/kg และ
    Gentamicin 4 mg/kg

 

อายุ ≤72 ชั่วโมง
หัตถการหลักทุกชนิด
พิจารณาเลือกยาปฏิชีวนะตามผลการเพาะเชื้อที่ colonization หรือเชื้อในโรงพยาบาล

 

OTHER RESOURCES

Reference

American Academy of Pediatrics. Antimicrobial prophylaxis in Pediatric surgery. In: Kimberlin DW, Barnett ED, Lynfield R, Sawyer MH, eds. Red Book: 2021 Report of the Committee on Infectious Diseases. Itasca, IL: American Academy of Pediatrics: 2021[1010-20].