MULTIDRUG-RESISTANT GRAM-NEGATIVE BACTERIA
Introduction
เชื้อแบคทีเรียแกรมลบที่ดื้อต่อยาปฏิชีวนะหลายชนิด โดยเฉพาะอย่างยิ่งเชื้อกลุ่ม carbapenem-resistant Enterobacterales (CRE), extended-spectrum β-lactamase-producing Enterobacterales (ESBL-E), MDR/carbapenem-resistant P. aeruginosa และ carbapenem-resistant A. baumannii (CRAB) ถูกกำหนดเป็นเป็นภัยคุกคามที่ร้ายแรงและเป็นภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุขทั่วโลก
CLINICAL
MDR Category
- Multidrug-Resistant (MDR) bacteria หมายถึง แบคทีเรียที่ดื้อต่อยาปฏิชีวนะอย่างน้อย 3 กลุ่ม
- Extensively drug-resistant (XDR) bacteria หมายถึง แบคทีเรียที่ดื้อต่อยาปฏิชีวนะเกือบทุกกลุ่มที่มีใช้ในโรงพยาบาล แต่ยังไวต่อยาไม่เกินสองชนิด
- Pan-drug resistant (PDR) bacteria หมายถึงแบคทีเรียที่ดื้อต่อยาปฏิชีวนะทุกชนิดที่มีใช้ใน โรงพยาบาล
Colonization
- MDR colonization อาจพบได้ในร่างกายผู้ป่วยโดยไม่ก่อให้เกิดอาการหรือโรคใดๆ แต่สามารถติดเชื้อหรือแพร่กระจายไปยังผู้ป่วยรายอื่นได้ การคัดกรอง เพื่อตรวจหา colonized CRE และจัดการแหล่งแพร่จะสามารถช่วยหยุดการแพร่กระจายของ CRE ในโรงพยาบาลได้
COMMON PATHOGENS
ESBL
ESBL หมายถึง เชื้อ Enterobacterales ที่สามารถสร้างเอนไซม์ extended-spectrum beta-lactamases (ESBLs) ออกฤทธิ์สลายและทำลายยาปฏิชีวนะที่ใช้กันโดยทั่วไป ได้แก่ penicillin และ 3rd generation cephalosporin เเต่ถูกยับยั้งได้ด้วย beta-lactamase inhibitors เชื้อก่อโรคที่พบบ่อยได้แก่ E. coli และ Klebsiella pneumoniae มักก่อโรคในระบบทางเดินอาหาร ได้แก่ อาหารเป็นพิษ หรือ gastroenteritis และอาจก่อให้เกิดการติดเชื้อนอกระบบทางเดินอาหาร ซึ่งเป็นสาเหตุสำคัญของการติดเชื้อในโรงพยาบาล หรือ nursing home ที่พบบ่อย ได้แก่ cystitis, pneumonia, septicemia
CRE / CPCRE
กลุ่ม Carbapenem-resistant Enterobacterales (CRE) หมายถึง E. coli, E. aerogenes, E. cloacae complex, K. pneumoniae, หรือ K. Oxytoca ดื้อต่อยาปฏิชีวนะหลายขนาน ที่สำคัญได้แก่ carbapenem และ extended-spectrum cephalosporin ส่วนใหญ่ติดเชื้อในโรงพยาบาล ที่พบบ่อยได้แก่ bacteremia, ventilator-associated pneumonia, intra-abdominal abscesses และ UTI ทั้งจาก urinary catheter และ urinary retention ผู้ป่วยมีอัตราการเสียชีวิตสูง และบางรายงานการศึกษาพบสูงมากกว่าร้อยละ 50% CP-CRE เป็นสายพันธุ์ที่สร้าง carbapenemases enzymes ไปยับยั้งการออกฤทธิ์ของ carbapenem และ β-lactam antibiotics ส่งผลให้เชื้อดื้อต่อยาปฏิชีวนะเกือบทุกชนิดที่มีอยู่ในปัจจุบัน และยังสามารถส่งต่อรหัสพันธุกรรมให้แบคทีเรียตัวอื่นๆ
MDR-PA / CRPA
MDR-PA หมายถึง P. aeruginosa ดื้อต่อยาปฏิชีวนะตั้งแต่ 3 กลุ่มขึ้นไป ส่วน CRPA หมายถึง เชื้อ P. aeruginosa ดื้อต่อยากลุ่ม carbapenems เช่น meropenem, imipenem/cilastatin, doripenem (ไม่รวม ertapenem) ทั้ง MDR-PA และ CRPA เป็นสาเหตุของการติดเชื้อในโรงพยาบาล ที่พบบ่อยคือ pneumonia, septicemia, urinary tract infections, และ surgical site infections พบมากในผู้ป่วย chronic lung diseases CP-CRPA เป็นสายพันธุ์ที่สร้าง carbapenemases enzymes ไปยับยั้งการออกฤทธิ์ของ carbapenem และ β-lactam antibiotics ส่งผลให้เชื้อดื้อต่อยาปฏิชีวนะเกือบทุกชนิดที่มีอยู่ในปัจจุบัน และยังสามารถส่งต่อรหัสพันธุกรรมให้แบคทีเรียตัวอื่นๆ
MDRAB / CRAB
Carbapenem-resistant A. baumannii (CRAB) หมายถึง A. baumannii ที่สร้าง carbapenemases และ metallo-beta-lactamases enzymes ทำให้ดื้อยากลุ่ม carbapenems (meropenem, imipenem/cilastatin, doripenem ยกเว้น ertapenem ซึ่งไม่มีฤทธิ์ครอบคลุมเชื้อ หรือ Intrinsic resistance) และ beta-lactams เกือบทั้งหมด CRAB ส่วนใหญ่มียีนดื้อยาปฏิชีวนะกลุ่มอื่นๆ ร่วมด้วย ซึ่งอาจเรียกว่า MDRAB CRAB หมายรวมถึงเชื้อ Acinetobacter สายพันธุ์อื่นในกลุ่ม baumannii และ calcoaceticus complexes มักพบเป็นการติดเชื้อในโรงพยาบาล โดยเฉพาะในผู้ป่วยที่ใช้เครื่องช่วยหายใจ ใส่ catheters มีการผ่าตัด และอยู่โรงพยาบาลเป็นระยะเวลานาน
TREATMENTS
การเลือกใช้ยาปฏิชีวนะตามตำแหน่งการติดเชื้อแบคทีเรียแกรมลบดื้อยา
Severe Infections
การติดเชื้อชนิดรุนแรง ได้แก่ septicemia, pneumonia, gastrointestinal and biliary tract infections
Upper Urinary Tract Infections
การติดเชื้อในทางเดินปัสสาวะส่วนบน
Cystitis
กระเพาะปัสสาวะอักเสบติดเชื้อ
Severe Infections
การติดเชื้อชนิดรุนแรง ได้แก่ septicemia, pneumonia, gastrointestinal and biliary tract infections
Category | Recommended Antibiotics |
MDR-AB |
|
MDR-PA |
|
ESBL |
|
CRE |
|
Upper Urinary Tract Infections
การติดเชื้อในทางเดินปัสสาวะส่วนบน
Category | Recommended Antibiotics |
MDR-AB |
|
MDR-PA |
|
ESBL |
|
CRE |
|
Cystitis
กระเพาะปัสสาวะอักเสบติดเชื้อ
Category | Recommended Antibiotics |
MDR-AB |
|
MDR-PA |
|
ESBL |
|
CRE |
|
รายการยาปฏิชีวนะที่มีฤทธิ์ต่อแบคทีเรียแกรมลบดื้อยา
Colistin
Ceftolozane-Tazobactam
Fosfomycin
Ceftazidime-Avibactam
Sitafloxacin
Meropenem
Sulbactam
Ertapenem
Tigecycline
หมายเหตุ: เฉพาะที่มีจำหน่ายในประเทศไทย
Antibiotics | Recommended doses by underlying (*Not approved by FDA) |
Adverse drug reaction | Remarks | |
Colistin | Loading dose | 300 mg | • Nephrotoxicity (non-oliguric) • Neurotoxicity i.e. peri-oral numbness • Nausea, vomit |
• Drip in 30-60 min • Low CSF/blood penetration • Meningitis: อาจใช้ colistin ฅ1-20 mg in NSS 1 ml intrathecal หรือ 1-3 ml via ventriculostomy q 24 h • VAT: อาจใช้ colistin 75-150 mg in NSS 5-10 ml nebulize q 6-12 hดูการใช้ยา colistin รักษา A. baumannii |
CrCl: >80
41-80
21-40
<20
|
150 mg q 8-12 h
150 mg q 12 h 100 mg q 12 h 150 mg q 24 h |
|||
Dialysis: HD
SLEDD
CRRT
CAPD
|
150 mg on non-HD day plus 200 mg after HD
150 mg q 12 h 150 mg q 8 h 100 mg q 24 h |
|||
Fosfomycin | Regular dose | 12-24 g/d (q 6-8 h) | • Nausea, vomit, diarrhea • Hypernatremia |
• 14.4 mEQ of Na/1 g • Good CSF/blood penetration (20-50%) |
CrCl: >40
21-40
<20
|
Regular dose 40-70% Regular dose 20-40% Regular dose |
|||
Sitafloxacin | Regular dose | 100 mg bid | • Nausea, vomit, diarrhea • QT prolongation |
• Drug-drug interaction • Cation decreases oral absorption |
Sulbactam | Regular dose | 3-6 g IV drip in 4 h q 6 h | • Diarrhea, nausea, vomit • Coagulopathy (due to cefoperazone) |
• Available as sulbactam, ampicillin/sulbactam, cefoperazone/sulbactam
ดูการใช้ยา sulbactam รักษา A. baumannii |
Tigecycline | Regular dose | 100 mg IV q 12 h | • Dizziness, headache • Diarrhea, nausea, • Hepatitis • Fever |
• Should not be used as monotherapy for VAP • Good for IAIs, SSTIs |
Child Pugh C | 100 mg, then 25 mg q 12 h | |||
Ceftolozane-Tazobactam |
CrCl: >50
30-50
15-29
<15
|
1.5 g q 8 h 750 mg q 8 h 375 mg q 12 h 750 mg stat, then 150 mg q 8 h (AD) |
• Diarrhea, nausea, vomit • Headache |
• Low CSF/blood penetration • Not cover anaerobes |
Dialysis: HD | 750 mg stat, then 150 mg q 8 h (AD) |
|||
Pneumonia | Double dose | |||
Pneumonia with HD: | 2.25 g stat then 450 mg q 8 h |
|||
Ceftazidime-Avibactam |
CrCl: >50
30-50
15-29
6-15
<15
|
2.5 g q 8 h 1.25 g q 8 h 0.94 g q 12 h 0.94 g q 24 h 0.94 g q 48 h |
• Diarrhea, nausea, vomit • Coomb’s test positive |
• Active for some CRE with KPC or OXA • Not cover anaerobes |
Dialysis: HD
|
0.94 g q 48 h, AD dose | |||
CVVH:
|
1.25 g q 8 h | |||
Meropenem |
CrCl: >50
25-50
10-25
<10
|
1 g q 8 h 1 g q 12 h 0.5 g q 12 h 0.5 g q 24 h |
• Nausea, vomit, • Diarrhea • Local phlebitis |
|
Dialysis: HD
|
0.5 g q 24 h after HD | |||
SLEDD
|
0.5 g q 8 h | |||
CRRT
|
1 g q 12 h | |||
CAPD
|
0.5 g q 24 h | |||
Ertapenem |
CrCl: >30
<30
|
1 g q 24 h 0.5 g q 24 h |
• Nausea, diarrhea • Local phlebitis • DRESS syndrome • Neurological side effect (พบบ่อยในผู้สูงอายุและ poor renal function |
• Use with caution in a patient with a low serum albumin level) |
Dialysis: HD
|
0.5 g q 24 h (if dosed within 6 h prior to HD, give an extra dose 150 mg after HD) |
|||
SLEDD
|
1 g q 24 h | |||
CRRT
|
1 g q 24 h | |||
CAPD
|
0.5 g q 24 h |
การใช้ยาปฏิชีวนะรักษาโรคติดเชื้อ MDR-A. baumannii
- การใช้ยา Sulbactam รักษาโรคติดเชื้อ A. baumannii ตามระดับความไวของยาและ CrCl
ความไว และขนาดรักษา | แนวทางการสั่งจ่ายยา | Sulbactam ที่ได้รับ | หมายเหตุ | |
CrCl (ml/min) | ขนาดยาตาม CrCl | |||
เชื้อไวต่อยา | ||||
ขนาดรักษา 3-4 g/day (ตามขนาด sulbactam) |
>30 | Sulperazone* 2 g IV q 8 h หรือ Unasyn** 3 g IV q 6 h |
3-4 g/day | การรักษา MDR A. baumanii ควรให้การรักษาแบบยารวม (Combination therapy) เพื่อหวังผลให้ยาออกฤทธิ์เสริมกันดังนี้
(ข้อมูลเป็นการศึกษาในหลอดทดลอง) |
15-29 | Sulperazone* 2 g IV q 12 h หรือ Unasyn** 3 g IV q 12 h |
2 g/day | ||
<15 | Sulperazone* 1 g IV q 12 h หรือ Unasyn** 3 g IV q 24 h |
1 g/day | ||
เชื้อดื้อต่อยาปานกลาง | ||||
ขนาดรักษา 6-8 g/day (ตามขนาด sulbactam) |
>30 | Sulperazone* 4 g IV q 8 h หรือ Unasyn** 3 g IV q 4 h |
6 g/day | เหมือนกลุ่มที่ 1 เชื้อไวต่อยา |
15-29 | Sulperazone* 3 g IV q 12 h หรือ Unasyn** 3 g IV q 8 h |
3 g/day | ||
<15 | Sulperazone* 2 g IV q 12 h หรือ Unasyn** 3 g IV q 12 h |
2 g/day | ||
เชื้อดื้อต่อยา | ||||
ขนาดรักษา 9-12 g/day (ตามขนาด sulbactam) |
>30 | Sulperazone* 4 g IV q 8 h + Unasyn** 3 g IV q 6 h |
10 g/day | * ถ้าต้องการให้ครอบคลุมเชื้อ P. aeruginosa ร่วมด้วย ให้พิจารณาเลือก Sulperazone** ถ้าต้องการให้ครอบคลุมเชื้อ E. faecalis + A. baumannii ร่วมด้วย ให้พิจารณาเลือกUnasyn |
15-29 | Sulperazone* 3 g IV q 8 h หรือ Unasyn** 3 g IV q 6 h |
4-4.5 g/day | ||
<15 | Sulperazone* 3 g IV q 12 h หรือ Unasyn** 3 g IV q 8 h |
3 g/day | ||
|
- รายการยาและขนาดยาปฏิชีวนะที่ใช้ในรักษา A. baumannii แบบ combination therapy
ยา/ความแรง | ระดับการทำงานของไต | Loading dose | Maintenance dose | |
Colistin | ||||
150 mg/vial; 212 บาท | CrCl (ml/min) | >80 | 300 mg | 150 mg q 8-12 h |
41-80 | 300 mg | 150 mg q 12 h | ||
21-40 | 300 mg | 100 mg q 12 h | ||
<20 | 300 mg | 150 mg q 24 h | ||
Dialysis | CAPD | 300 mg | 100 mg q 24 h | |
Intermittent HD
(Acute and Chronic) |
300 mg | Dialysis day: 200 mg after dialysis
Non-Dialysis day: 150 mg q 24 h |
||
CCRT | 300 mg | 150 mg 8 h | ||
SLED | 300 mg | SLED day: 150 mg q 12 h
Non-SLED day: 150 mg q 24 h |
||
Imipenem | ||||
500 mg/vial;
468 บาท |
CrCl (ml/min) | >90 | – | 500 mg q 6 h / max: 1 g q 6 h |
50-90 | – | 250-500 mg q 6-8 h | ||
10-50 | – | 250 mg q 8-12 h | ||
<10 | – | 125-250 mg q 12 h | ||
Dialysis | CAPD | – | 125-250 mg q 12 h | |
Intermittent HD
(Acute and Chronic) |
– | 125-250 mg q 12 h
(give one of the dialysis day doses AD) |
||
CCRT | N/A | |||
SLED | N/A | |||
Meropenem | ||||
1 gm/vial: 166 บาท |
CrCl (ml/min) | >90 | – | 1 g q 8 h / max: 2 g q 8 h |
50-90 | – | 1 g q 8 h | ||
25-50 | – | 1 g 12 h | ||
10-25 | – | 500 mg 12 h | ||
<10 | – | 500 mg q 24 h | ||
Dialysis | CAPD | – | 500 mg q 24 h | |
Intermittent HD
(Acute and Chronic) |
– | 500 mg q 24 h (give one of the dialysis day doses AD) | ||
CCRT | N/A | |||
SLED | N/A |
การใช้ยาปฏิชีวนะรักษาโรคติดเชื้อแบคทีเรียแกรมลบชนิดสร้าง เอนไซม์ ESBLs
การใช้ยาปฏิชีวนะรักษาโรคติดเชื้อแบคทีเรียแกรมลบชนิดสร้าง เอนไซม์ ESBLs เมื่อทราบผลความไวต่อเชื้อ (definitive therapy)
ประเภทการติดเชื้อ | ยาต้านจุลชีพที่แนะนำ | |
อันดับแรก | อันดับรอง | |
การติดเชื้อรุนแรง | ||
การติดเชื้อในกระแสเลือด | Carbapenems (โดยเฉพาะ Ertapenem) |
Piperacillin/Tazobactam |
ปอดอักเสบติดเชื้อ | ||
การติดเชื้อในช่องท้อง | Carbapenems (โดยเฉพาะ Ertapenem) |
Piperacillin/Tazobactam, Ceftolozane/Tazobactam + Metronidazole |
กรวยไตอักเสบ ที่มีการติดเชื้อในกระแสเลือดร่วมด้วย |
Carbapenems (โดยเฉพาะ Ertapenem) |
Piperacillin/Tazobactam |
การติดเชื้อในระบบประสาทส่วนกลาง | Meropenem | – |
การติดเชื้อไม่รุนแรง | ||
กระเพาะปัสสาวะอักเสบ | Fosfomycin รูปกิน, Nitrofurantoin |
Amoxicillin/Clavulanic acid |
กรวยไตอักเสบ แบบไม่มีภาวะแทรกซ้อน |
Aminoglycosides, Sitafloxacin (IV-to-PO switching) |
Piperacillin/Tazobactam, Ertapenem, Ceftolozane/Tazobactam |
การติดเชื้ออื่นๆ | Piperacillin/Tazobactam | Carbapenems (โดยเฉพาะ Ertapenem) |
การใช้ยาปฏิชีวนะรักษาโรคติดเชื้อ Carbapenem-resistant Enterobacteriaceae (CRE)
ประเภทการติดเชื้อ | ยาต้านจุลชีพที่แนะนำ | |
อันดับแรก | อันดับรอง | |
การติดเชื้อรุนแรง | ||
การติดเชื้อในกระแสเลือด | Colistin ร่วมกับยาอื่นอย่างน้อย 1 ชนิด เช่น Carbapenem ขนาดสูง | Colistin ร่วมกับยาอื่นอย่างน้อย 1 ชนิด เช่น Tigecycline/ Fosfomycin/Sitafloxacin (โดยพิจารณาจากความไว) |
ปอดอักเสบติดเชื้อ | ||
การติดเชื้อไม่รุนแรง | ||
การติดเชื้อในทางเดินอาหารและน้ำดี | Tigecycline ขนาดสูง (หากเชื้อยังคงไวต่อยานี้) |
Colistin monotherapy |
การติดเชื้อในทางเดินปัสสาวะ | Aminoglycoside monotherapy (หากเชื้อยังคงไวต่อยานี้) |
Colistin monotherapy, Carbapenem ขนาดสูง |
แนวทางการสั่งใช้ยา Colistin
- การใช้ยายา Colistin ชนิดฉีดที่ปรับขนาดตามการทำงานของไต
-
Colistin 150 mg/vial; 212 บาท CrCl (ml/min) >80 300 mg 150 mg q 8-12 h 41-80 300 mg 150 mg q 12 h 21-40 300 mg 100 mg q 12 h <20 300 mg 150 mg q 24 h Dialysis CAPD 300 mg 100 mg q 24 h Intermittent HD
(Acute and Chronic)300 mg Dialysis day: 200 mg after dialysis
Non-Dialysis day: 150 mg q 24 hCCRT 300 mg 150 mg 8 h SLED 300 mg SLED day: 150 mg q 12 h
Non-SLED day: 150 mg q 24 h
- การใช้ยา colistin ในรูปยาพ่นและฉีดเข้าน้ำไขสัน
มีการรายงานการใช้ในรูปยาพ่นและฉีดเข้าน้ำไขสันด้วยสูตรต่างๆ ตามรายละเอียดดังนี้
รูปแบบ | ขนาดยาที่ใช้ | ระยะเวลา | วิธีบริหารยา | กลุ่มผู้ป่วย |
Nebulized colistin | 75 mg ทุก 12 ชม |
จนกว่าจะหยุดยาฉีด | ผสม normal saline 4 ml พ่นทาว jet หรือ ultrasonic nebulizer 10 นาที | VAP |
75-150 mg ทุก 8-12 ชม |
อย่างน้อย 3 วัน | ผสม normal saline 5 ml พ่นทาว jet nebulizer 30 นาที | VAP | |
100-150 mg ทุก 12 ชม |
11-13 วัน | ผสม normal saline 2 ml พ่นทาว Respirgard II nebulizer 30 นาที (ไม่ระบุระยะเวลาในการบริหารยา) |
VAP | |
1 ล้านยูนิต ทุก 8 ชม |
7 วัน | พ่นทาง vibrating-mesh nebulizer (ไม่ระบุตัวทำละลาย และระยะเวลาในการบริหารยา) |
VAP | |
Intrathecal colistin | 150,000-200,000 ยูนิต ต่อ วัน | ตามการตัดสินใจของแพทย์ | ผสมม NSS 1-3 ml ใส่สาย ventriculostomy และ clamp สาย 1-2 ชม. หรือบริหารยาโดยการเจาะน้ำไขสันหลัง | Meningitis และ/หรือ ventriculitis |
1-20 mg ทุก 24 ชม |
นาน 8-42 วัน | ใส่สาย ventriculostomy หรือบริหารยาโดยการเจาะน้ำไขสันหลัง (ไม่ระบุ ตัวทำละลาย) | Post-surgical meningitis |
แนวทางการสั่งใช้ยา Fosfomycin sodium injection
- ข้อบ่งชี้และข้อกำหนดการใช้ยา
ข้อบ่งใช้
- เชื้อที่ไวต่อยา Fosfomycin เช่น E. faecium, E. faecalis, MRSA, K. pneumoniae, E. coli, P. aeruginosa, Proteus spp., Serratia marcescen เป็นต้น
- ควรเลือกใช้ในกรณีการติด เชื้อเกิดจากเชื้อดื้อยาหรือไม่สามารถเลือกใช้ยาอื่นได้
- ควรใช้ร่วมกับยาอื่น (combination therapy) เพื่อป้องกันการดื้อยา
ข้อกำหนดในการใช้ยา กรณีที่มีรายการยาที่มีข้อบ่งใช้เหมือนกัน
- กรณีรักษา Hospital-acquired gram-negative infection เช่น MDR P. aeruginosa แนะนำให้ใช้ combination therapy เพื่อป้องกันการดื้อยา
- กรณีรักษา Methicillin Resistance S. aureus (MRSA)
• Hospital-acquired MRSA (HA-MRSA) แนะนำให้เลือกใช้ Vancomycin ก่อน โดยใช้ Fosfomycin เป็นยาทางเลือกในกรณีผู้ป่วยแพ้ยา หรือเชื้อดื้อต่อ Vancomycinหรือมีการติดเชื้อในอวัยวะที่ยา Vancomycin กระจายไปยังเนื้อเยื่อหลายอวัยวะนั้นได้น้อย และแนะนำให้ใช้ combination therapy เพื่อป้องกันการดื้อยา โดยการให้Rifampicin ในขนาด 10 mg/kg (ตามขนาดยารักษา TB)
• Community-acquired MRSA (CA-MRSA) แนะนำให้เลือกใช้ Clindamycin,TMP-SMX ก่อน
ขนาดยาที่ใช้
- เฉลี่ยต่อวัน 12-16 กรัมต่อวัน แบ่งให้วันละ 2-4 ครั้ง (ขึ้นกับชนิดของเชื้อ), Life threatening infection : Max dose 20-24 g/day (ข้อมูลจากผลการศึกษา)
- ขนาดยา Fosfomycin ตามระดับการทำงานของไต
วิธีการบริหารยา
- รูปแบบ, ความแรง 2 กรัม / vial
- IV infusion: ละลายผงยาและเจือจางด้วย D5W หรือ N/2 ปริมาณ 100-500 ml IV infusion นาน 1-2 ชม. เพื่อป้องกันการเกิด thrombophlebitis กรณีที่ผู้ป่วยจำกัดเกลือ ควรผสมกับสารน้ำที่ไม่ใช่ NSS
- หลังผสมเก็บยาได้ 7 วัน ที่อุณหภูมิ 25 องศาเซลเซียส
ข้อควรระวัง
- ยา Fosfomycin 2 g มี Na+ 28.8 mEq หรือ 0.66 g ควรระวังการใช้ในผู้ป่วยที่ต้องจำกัดเกลือ เช่น ผู้ป่วยหัวใจวายและผู้ป่วยไตวาย ควรหลีกเลี่ยงการใช้ในสตรีมีครรภ์หรือสงสัยตั้งครรภ์ เนื่องจากยังไม่มีข้อมูลความปลอดภัยที่ทราบแน่ชัด
อาการไม่พึงประสงค์
- Injection-site reaction, hypernatremia, hypokalemia, heart failure orhypertension
- ขนาดยา Fosfomycin ตามชนิดของเชื้อก่อโรค และระดับการทำงานของไต
เชื้อก่อโรค | Recommended dose (RD) | การปรับขนาดยา Fosfomycin ตามการทำงานของไต | ||||
Adjusted ตาม CrCl (ml/min) | Intermittent Dialysis |
CVVH | ||||
CrCl | % RD |
Dosage | ||||
MDR-Gram–positive | 2 g IV q 8 h | ≤40 | 70% | 1.5 g q 12 h | 2 g after each session | In critically ill pt.
no adjust dose 8 g q 12 h |
30-40 | 60% | 1 g q 12 h | ||||
10-30 | 40% | 1 g q 12 h | ||||
≤10 | 20% | 0.5 g q 12 h | ||||
ESBL-E. coli | 4 g IV q 8 h | ≤40 | 70% | 3 g q 12 h | ||
30-40 | 60% | 2.5 g q 12 h | ||||
10-30 | 40% | 1.5 g q 12 h | ||||
≤10 | 20% | 1 g q 12 h | ||||
ESBL-K. pneumoniae | 4 g IV q 8 h | ≤40 | 70% | 4 g q 12 h | ||
30-40 | 60% | 4 g q 12 h | ||||
10-30 | 40% | 1.5 g q 12 h | ||||
≤10 | 20% | 1 g q 12 h | ||||
MDR-P. aeruginosa | 4 g IV q 8 h | ≤40 | 70% | 4 g q 12 h | ||
30-40 | 60% | 2.5 g q 12 h | ||||
10-30 | 40% | 1.5 g q 12 h | ||||
≤10 | 20% | 1 g q 12 h | ||||
MDR-A. baumannii, CRE | ||||||
Meningitis | 4 g IV q 8 h | ≤40 | 70% | 4 g q 12 h | ||
30-40 | 60% | 2.5 g q 12 h | ||||
10-30 | 40% | 1.5 g q 12 h | ||||
≤10 | 20% | 1 g q 12 h | ||||
Osteomyelitis | 4 g IV q 8 h | ≤40 | 70% | 3 g q 12 h | ||
30-40 | 60% | 2.5 g q 12 h | ||||
10-30 | 40% | 1.5 g q 12 h | ||||
≤10 | 20% | 1 g q 12 h | ||||
หมายเหตุ HD: normal dose but give only post HD CAPD: Not recommend in CAPD (should give via IP); infected CAPD 1 g q 24-36 h |
OTHER RESOURCES
OTHER RESOURCES
1. https://www.cdc.gov/hai/organisms/cre/cre-clinicians.html
2. chrome-extension://efaidnbmnnnibpcajpcglclefindmkaj/https://www.cdc.gov/drugresistance/pdf/threats-report/pseudomonas-aeruginosa-508.pdf
3. https://www.pidst.or.th/A1383.html
4. chrome-extension://efaidnbmnnnibpcajpcglclefindmkaj/https://www.cdc.gov/hai/pdfs/cre/crpa-handout-v7-508.pdf
REFERENCES
[1] ภิญโญ รัตนาอัมพวัลย์, “Multidrug-resistant Gram-negative Bacterial Infections,” in Handbook of Infectious Disease [Book Editors: รุจิภาส สิริจตุภัทร, ภาคภูมิ พุ่มพวง, วลัยพร วังจินดา], 2nd ed., กรุงเทพมหานคร, สาขาวิชาโรคติดเชื้อและอายุรศาสตร์เขตร้อน ภาควิชาอายุรศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล, 2564, pp. 263-268.
[2] Cheng Len Sy, Pao-Yu Chen, Chun-Wen Cheng, et al., “Recommendations and guidelines for the treatment of infections due to multidrug resistant organisms,” Journal of Microbiology, Immunology and Infection, vol. 55, no. 3, pp. 359-386, 2022.
[3] Pranita D. Tamma*, Samuel L. Aitken, Robert A. et al., “IDSA 2023 Guidance on the Treatment of Antimicrobial Resistant Gram-Negative Infections,” 18 July 2023. [Online]. Available: https://www.idsociety.org/practice-guideline/amr-guidance/. [Accessed 01 01 2024].
[4] U.S. Centers for Disease Control and Prevention, National Center for Emerging and Zoonotic Infectious Diseases (NCEZID), Division of Healthcare Quality Promotion (DHQP), “ESBL-producing Enterobacterales
in Healthcare Settings,” 22 November 2019. [Online]. Available: https://www.cdc.gov/hai/organisms/ESBL.html. [Accessed 01 January 2024].
[5] Centers for Disease Control and Prevention, National Center for Emerging and Zoonotic Infectious Diseases (NCEZID), Division of Healthcare Quality Promotion (DHQP), “Clinicians: Information about CRE,” 13 November 2019. [Online]. Available: https://www.cdc.gov/hai/organisms/cre/cre-clinicians.html. [Accessed 01 January 2024].