PARAPNEUMONIC EFFUSION
Introduction
Parapneumonic หรือ Pleural Effusion น้ำในเยื่อหุ้มปอดอันเกิดจากปอดอักเสบหรือการติดเชื้อในเยื่อหุ้มปอด คือภาวะที่มีของเหลวปริมาณมากเกินปกติในพื้นที่ระหว่างเยื่อหุ้มปอดและเยื่อหุ้มช่องอก โดยปริมาณน้ำที่มากขึ้นจะไปกดทับปอด ส่งผลให้ปอดขยายตัวได้ไม่เต็มที่ ผู้ป่วยภาวะนี้มีอาการโดยทั่วไปคือ ไอ เจ็บหน้าอก หายใจลำบาก หรือรู้สึกเจ็บขณะหายใจ
CLINICAL
CLINICAL
พบสูงสุดในวัยเด็กและผู้สูงอายุ ผู้ป่วยเบาหวาน Alcoholic ผู้ติดยาเสพติด และผู้ป่วยความผิดปกของระบบภูมิคุ้มกัน Parapneumonic effusion เป็นสาเหตุหลักของ exudative pleural effusion ถ้ามีลักษณะเป็นหนอง ตรวจพบเชื้อแบคทีเรียจาก gram stain หรือ culture เรียกว่า Empyema
COMMON PATHOGENS
COMMON PATHOGENS
- เชื้อแบคทีเรียก่อโรค:
⇒ พบบ่อย: S. pneumoniae, oral streptococci, anaerobes, S. aureus
⇒ พบได้แต่ไม่บ่อย: E. coli, K. pneumoniae, B. pseudomallei
⇒ พบน้อยมาก: L. pneumophila, M. pneumoniae, C. pneumoniae - เชื้อ mycobacteria:
⇒ พบบ่อย M. tuberculosis เป็นสาเหตุของ Tuberculous pleuritis หรือวัณโรคเยื่อหุ้มปอด ที่พบบ่อยที่สุดในพื้นที่ที่มีการระบาด (endemic) โดยมักพบร่วมกับ Primary TB ในปอด - เชื้ออื่นๆ พบได้น้อยมาก ได้แก่ ไวรัส และเชื้อรา
TREATMENTS
General Principle
- การรักษาโดยการใช้ยาต้านจุลชีพ พิจารณาตามชนิดของเชื้อก่อโรคที่เป็นสาเหตุของการติดเชื้อในเนื้อเยื่อปอด หรือที่ตรวจพบได้จากผล Culture ของน้ำในเยื่อหุ้มปอด (ดูรายละเอียดเพิ่มเติมในการรักษา Pneumonia) (ทำ Link ไปดูที่ webpage Pneumonia)
- กรณีให้การรักษาด้วยยาต้านจุลชีพที่ตรงกับเชื้อก่อโรคแล้ว แต่อาการไม่ดีชึ้น อาจเป็นจากภาวะแทรกซ้อนจาก parapneumonic effusion หรือ lung abscess หรือ endobronchial obstruction
- พิจารณาการระบายน้ำในเยื่อหุ้มปอด ร่วมกับการให้ antibiotic ตามระยะของ parapneumonic effusion เพื่อช่วยควบคุมการติดเชื้อ หากการักษาด้วย antibiotics และ drainage อย่างเต็มที่แล้วอาการยังไมดีขึ้นควรพิจารณาผ่าตัด decortication
Recommended Empirical Antibiotics
ตำเเหน่งติดเชื้อ | Risk factor | Common Pathogens | Antibiotics |
CAP with parapneumonic effusion (community-acquired) |
|
|
Ceftriaxone |
|
|
Ceftazidime | |
|
|
Ceftazidime | |
HAP with parapneumonic effusion (hospital-acquired) |
|
|
ขึ้นอยู่กับ local antibiogram รพ. |
VAP with parapneumonic effusion (hospital-acquired) |
|
|
ขึ้นอยู่กับ local antibiogram รพ. |
Recommended treatment by Effusion Staging
แนวทางการรักษาตามระยะของ parapneumonic effusion
ระยะ* | 1 | 2 | 3 |
ชื่อเรียก | Exudate หรือ Simple parapneumonic effusion |
Fibropurulent หรือ Complicated parapneumonic effusion | Empyema หรือ Organized phase (เยื่อหุ้มปอดหนา) |
ระยะเวลา | ช่วงแรก (วัน) | ช่วงแรก (วัน ถึง สัปดาห์) | ช่วงท้าย (สัปดาห์ ถึง เดือน) |
ลักษณะ |
|
|
|
การรักษา | มักตอบสนองต่อยาต้านจุลชีพ โดยไม่ต้องระบายน้ำ ในช่องปอด* | ให้ยาต้านจุลชีพ ร่วมกับการระบายน้ำในช่องปอด | ให้ยาต้านจุลชีพ ร่วมกับการระบายน้ำในช่องปอด |
* ถ้าปริมาณน้ำหนามากกว่าประมาณ 10 mm จาก chest wall ควรพิจารณาดูดออกเพื่อควบคุมการติดเชื้อ
OTHER RESOURCES
REFERENCES
[1] วลัยพร วังจินดา, “Pleuropulmonary Infections,” in Handbook of Infectious Disease [Book Editors: รุจิภาส สิริจตุภัทร, ภาคภูมิ พุ่มพวง, วลัยพร วังจินดา], 2nd ed., กรุงเทพมหานคร, สาขาวิชาโรคติดเชื้อและอายุรศาสตร์เขตร้อน ภาควิชาอายุรศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล, 2021, pp. 124-129.
[2] Joshua P. Metlay, Grant W. Waterer, Ann C. Long, et al., “Diagnosis and Treatment of Adults with Community-acquiredPneumonia. An Official Clinical Practice Guideline of the American Thoracic Society andInfectious Diseases Society of America,” American Journal of Respiratory and Critical Care Medicine, vol. 200, no. 7, pp. 795-P15, 1 Oct 2019.
[3] Alfred G Smith, “Hospital-Acquired, Health Care-Associated, and Ventilator-Associated Pneumonia Organism-Specific Therapy,” 02 June 2023. [Online]. Available: https://emedicine.medscape.com/article/2012038-overview. [Accessed 03 November 2023].
[4] สมาคมโรคติดเชื้อแห่งประเทศไทย สมาคมอุรเวชช์แห่งประเทศไทย สมาคมเวชบำบัดวิกฤตแห่งประเทศไทย ชรมรมควบคุมโรคติดเชื้อในโรงพยาบาลแห่งประเทศไทย, “แนวเวชปฏิบัติในการดูแลรักษาและป้องกันปอดอักเสบในโรงพยาบาลและปอดอักเสบที่เกี่ยวข้องกับเครื่องช่วยหายใจในผู้ใหญ่ในประเทศไทย,” จุลสารสมาคมเวชบำบัดวิกฤตแห่งประเทศไทย, vol. 15, no. 1, pp. 10-27, 2550.
[5] Kartika Shetty, “Hospital-Acquired Pneumonia (Nosocomial Pneumonia) and Ventilator-Associated Pneumonia,” 02 June 2023. [Online]. Available: https://emedicine.medscape.com/article/234753-overview#a14. [Accessed 05 November 2023].