PNEUMONIA
Introduction
ปอดอักเสบจากการติดเชื้อ (Pneumonia) โดยเชื้อโรคทำให้เกิดการอักเสบของถุงลมปอดและเนื้อเยื่อโดยรอบ เกิดที่ปอดข้างใดข้างหนึ่งหรือทั้งสองข้าง มีระดับความรุนแรงตั้งแต่รุนแรงน้อยไปจนถึงรุนแรงมาก จากการที่ถุงปอดเต็มไปด้วยของเหลวหรือหนอง ซึ่งส่งผลให้กระบวนการแลกเปลี่ยนออกซิเจนทำงานได้ไม่ดี และหากมีการลุกลามจะทำให้เสียชีวิตได้
CLINICAL
CLINICAL
ลักษณะความรุนแรงของปอดอักเสบจะแตกต่างกันไปตามชนิดของเชื้อ ที่พบว่าจะแตกต่างกันในแต่ละกลุ่มอายุ และแตกต่างตามสภาพแวดล้อมที่เกิดโรค หรือลักษณะการติดเชื้อ แบ่งเป็น 4 ลักษณะ
- Community-acquired pneumonia (CAP)
การติดเชื้อที่เกิดขึ้นในชุมชนนอกโรงพยาบาล โดยมีอาการแสดงก่อนเช้ารับการรักษาในโรงพยาบาล หรือหลังเข้ารับการรักษาไม่เกิน 48 ชั่วโมง - Hospital-acquired pneumonia (HAP)
การติดเชื้อเกิดขึ้นจากการเข้ารับการรักษาในโรงพยาบาล มีการแสดงอาการทางคลินิกหลังเข้ารับการรักษาตั้งแต่ 48 ชั่วโมงขึ้นไปโดยไม่ได้ใช้เครื่องช่วยหายใจ - Ventilator-acquired pneumonia (VAP)
การติดเชื้อที่เกิดขึ้นหลังใช้เครื่องช่วยหายใจผ่านท่อช่วยหายใจ (endotracheal tube – ETT) ตั้งแต 48 ชั่วโมงขึ้นไป (ขณะที่เริ่มใส่ท่อช่วยหายใจผู้ป่วยไม่อยูในระยะฟักตัวของเชื้อ) ทั้งนี้ การติดเชื้อ อาจแสดงอาการภายใน 48 ชั่วโมงหลังถอด ETT - Healthcare-associated pneumonia (HCAP
การติดเชื้อที่เกิดขึ้นขณะเข้ารับบริการสุขภาพ (มีประวัติเข้ารับบริการในช่วง 30 วันก่อนมีอาการ) เช่นรับบริการใน nursing home, dialysis unit หรือ chemotherapy unit เป็นต้น
COMMON PATHOGENS
.
TREATMENTS
TREATMENT
แนวปฏิบัติการให้ยาปฏิชีวนะ จำแนกตามตามสภาพแวดล้อมที่เกิดโรค ซึ่งสัมพันธ์กับชนิดของเชื้อ
COMMUNITY-ACQUIRED PNEUMONIA (CAP)
การติดเชื้อปอดอักเสบจากเชื้อในชุมชน
HOSPITAL-ACQUIRED PNEUMONIA (HAP)
การติดเชื้อปอดอักเสบหลังเข้ารับการรักษาในสถานพยาบาล
COMMUNITY-ACQUIRED PNEUMONIA (CAP)
General Principle
- พิจารณาเลือกยาต้านจุลชีพแบบ empirical therapy หรือตามแบบแผนระบาดวิทยาของการติดเชื้อ พิจารณาปรับชนิดของยา (de-escalation) เมื่อทราบเชื้อก่อโรค และความไวต่อยา (Susceptibility)
- ระยะเวลารักษา 5-7 วัน
Outpatient CAP
การรักษาสำหรับผู้ป่วยปอดอักเสบที่มีอาการไม่รุนแรง และสามารถรักษาแบบผู้ป่วยนอก (Walking Pneumonia) พิจารณาตามสถานภาพของผู้ป่วย จากการไม่มี หรือมี underlying comorbidities (เช่น COPD, diabetes, CHF, alcoholism malignancy หรือ asplenia) หรือมีภาวะเสี่ยงติดเชื้อดื้อยา (เช่นเคยได้รับยาปฏิชีวนะก่อนติดเชื่อจากชุมชน) เป็น Uncomplicated และ Complicated ตามลำดับ
Uncomplicated Outpatient CAP
ลักษณะทางคลินิก | เชื้อก่อโรคที่พบบ่อย | ยาปฏิชีวนะ กรณีติดเชื้อแบคทีเรีย |
No co-morbidity/ ไม่มีประวัติได้ยาต้าน จุลชีพ |
Atypical pneumonia – M. pneumoniae – C. pneumoniae – Legionella pneumophilia S. pneumoniae Respiratory virus |
Empirical: Monotherapy ß-lactam หรือ Macrolide • ß-lactam choices – Amoxicillin 1 g PO t.i.d (High dose) • Macrolide choices – Azithromycin 500 mg PO day-1 ในวันแรก ตามด้วย 250 mg PO daily day 2-5 – Clarithromycin 500 mg PO b.i.d หรือ clarithromycin ER 1,000 mg daily Alternative: Monotherapy • Doxycycline 100 mg bid • Levofloxacin 750 mg/d • Moxifloxacin 400 mg/d |
Post influenza | S. pneumoniae S. aureus |
2nd – 3rd generation cephalosporins – Cefuroxime 500 mg twice daily – Cefpodoxime 200 mg twice daily |
Complicated Outpatient CAP
ลักษณะทางคลินิก | เชื้อก่อโรคที่พบบ่อย | ยาปฏิชีวนะ กรณีติดเชื้อแบคทีเรีย |
Chronic lung disease | H. influenzae M. catarrhalis S. pneumoniae |
Empirical: Combination PO ß-lactam + PO Macrolide • ß-lactam choices: ข้อใดข้อหนึ่ง – Amoxicillin/clavulanate: – 875 mg/125 mg PO b.i.d หรือ – 2,000 mg/125 mg PO daily – 2nd – 3rd gen. cephalosporins – Cefpodoxime 200 mg twice daily – Cefuroxime 500 mg twice daily • Macrolide choices: ข้อใดข้อหนึ่ง – Azithromycin 500 mg PO ในวันแรก ตามด้วย 250 mg PO once daily – Clarithromycin 500 mg PO b.i.d หรือ clarithromycin ER 1,000 mg once daily Alternative: Monotherapy PO respiratory Fluoroquinolone • Fluoroquinolone choices: ข้อใดข้อหนึ่ง – Levofloxacin 750 mg daily – Moxifloxacin 400 mg daily – Gemifloxacin 320 mg daily |
Alcoholism | S. pneumoniae Anaerobes Gram- negative rods |
|
มีประวัติได้ยาปฏิชีวนะมาก่อน | ภาวะเสี่ยงติดเชื้อดื้อยา |
Inpatient CAP
การรักษาสำหรับผู้ป่วยปอดอักเสบที่ต้องรับไว้รักษาในโรงพยาบาล พิจารณาเลือกใช้ยาปฏิชีวนะตามระดับความรุนแรงของโรค และ/หรือความเสี่ยงต่อการติดเชื้อจากชุมชนขนิดที่เป็นเชื้อดื้อยา
- Inpatient, Non-severe CAP
- Inpatient, Severe CAP
- Inpatient, Risk of MRSA
- Inpatient, Risk of Paeruginosa
- Inpatient, Risk of Bpseudomallei (Melioidosis)
Inpatient: Non-severe CAP
ลักษณะทางคลินิก | เชื้อก่อโรคที่พบบ่อย | ยาปฏิชีวนะ กรณีติดเชื้อแบคทีเรีย |
ไม่รุนแรง ไม่มีความเสี่ยงติดเชื้อดื้อยา |
S. pneumoniae H. Influenzae Atypical pneumonia – M. pneumoniae – C. pneumoniae – Legionella pneumophilia |
Empirical: Combination ß-lactam + Macrolide • ß-lactam choices – Ceftriaxone 1-2 g IV q 24h – Ampicillin/sulbactam 1.5-3.0 g IV q 6h – Cefotaxime 1-2 g IV q 8h – Ceftaroline 600 mg IV q 12h • Macrolide choices – Azithromycin 500 mg IV/PO daily – Clarithromycin 500 mg PO b.i.d Alternative: Monotherapy • Respiratory Fluoroquinolone – Levofloxacin 750 mg daily PO/IV daily – Moxifloxacin 400 mg PO/IV daily |
Inpatient: Severe CAP
ลักษณะทางคลินิก | เชื้อก่อโรคที่พบบ่อย | ยาปฏิชีวนะ กรณีติดเชื้อแบคทีเรีย |
รุนแรง (รับการรักษาใน ICU) |
S. pneumoniae H. Influenzae S. aureus Gram negative bacilli Legionella spp. |
Combination therapy และพิจารณา de-escalation ตามชนิดของเชื้อและผล susceptibility Empirical: ß-lactam + Macrolide • ß-lactam choices – Ceftriaxone 1-2 g IV q 24h – Ampicillin/sulbactam 1.5-3.0 g IV q 6h – Cefotaxime 1-2 g IV q 8h – Ceftaroline 600 mg IV q 12h • Macrolide choices – Azithromycin 500 mg IV/PO daily – Clarithromycin 500 mg PO b.i.d Alternative: ß-lactam + Fluoroquinolone • ß-lactam choices – Ceftriaxone 1-2 g IV q 24h – Ampicillin/sulbactam 1.5-3.0 g IV q 6h – Cefotaxime 1-2 g IV q 8h – Ceftaroline 600 mg IV q 12h • Respiratory Fluoroquinolone – Levofloxacin 750 mg daily PO/IV daily – Moxifloxacin 400 mg PO/IV daily |
Inpatient: Risk of MRSA
ลักษณะทางคลินิก | เชื้อก่อโรคที่พบบ่อย | ยาปฏิชีวนะ กรณีติดเชื้อแบคทีเรีย |
เคยมีประวัติติดเชื้อ MRSA |
MRSA |
เพิ่มยาจากสูตร Severe CAP ให้ครอบคลุม MRSA ส่งตรวจ nasal carriage/cultures และ de-escalation เมื่อทราบชนิดและผล susceptibilityการเลือกใช้ชนิดของยาให้พิจารณาจาก local antibiogram ระยะเวลารักษา อย่างน้อย 7 วันEmpirical: • Vancomycin 15 mg/kg IV q 12h หรือ Alternative: • Linezolid 600 mg PO/IV q 12h |
Inpatient: Risk of P. aeruginosa
ลักษณะทางคลินิก | เชื้อก่อโรคที่พบบ่อย | ยาปฏิชีวนะ กรณีติดเชื้อแบคทีเรีย |
เคยมีประวัติติดเชื้อ P. aeruginosa |
P. aeruginosa | พิจารณาใช้สูตรยาที่ครอบคลุม P. aeruginosa ส่งตรวจ cultures และ de-escalation เมื่อทราบชนิดและผล susceptibilityการเลือกใช้ชนิดของยาให้พิจารณาจาก local antibiogram ระยะเวลารักษา อย่างน้อย 7 วันEmpirical: • ß-lactam choices – Piperacillin/tazobactam 4.5 g IV q 6h – Ceftazidime 2 g IV q 8h – Cefepime 2 g IV q 8h Alternative: • Carbapenem – Imipenem 500 mg IV q 6h – Meropenem 1 g IV q 8h – Aztreonam 2g IV q 8h |
Inpatient: Risk of B. pseudomallei (Melioidosis)
ลักษณะทางคลินิก | เชื้อก่อโรคที่พบบ่อย | ยาปฏิชีวนะ กรณีติดเชื้อแบคทีเรีย |
DM type 2 Thalassemia Chronic kidney disease, Farmer / Agriculturist |
B. pseudomallei (Melioidosis) | Empirical: Patient with no complications • ß-lactam choices – Ceftazidime 2 g IV q 8hAlternative: Patient with neuromelioidosis or persistent bacteraemia or in intensive care unit • Carbapenem – Meropenem 1 g IV q 8h – Imipenem/cilastatin 500 mg IV q 6h |
HOSPITAL-ACQUIRED PNEUMONIA (HAP)
General Principle
- การรักษาให้ตรงตามเชื้อก่อโรค โดยอาศัยผลเพาะเชื้อจาก secretion นำมาใช้ในการเลือกยาปฏิชีวนะที่เหมาะสม
- ระหว่างที่ยังไม่ทราบผลเพาะเชื้อ เลือกสูตรยา empirical therapy ตามข้อมูล Antibiogram ของแต่ละ
โรงพยาบาล และความเสี่ยงของการติดเชื้อดื้อยา และพิจารณาปรับชนิดของยา (de-escalation) เมื่อทราบเชื้อก่อโรค และความไวต่อยา (Susceptibility)
ความเสี่ยงของการติดเชื้อดื้อยา MDR
- Multiple-drug resistance (MDR) VAP/HAP
– IV antibiotic ในช่วง 90 วันก่อนเกิดอาการ
– Septic shock ขณะเกิดอาการ
– มีประวัติ ARDS ก่อนเกิดอาการ
– > 5 d hospitalization ก่อนเกิดอาการ
– Acute renal replacement ก่อนเกิดอาการ - MRSA VAP/HAP
– IV antibiotic ในช่วง 90 วันก่อนเกิดอาการ
– รับการรักษาในหน่วยที่พบผล isolates ของ S. aureus เป็น MRSA >10% – 20%
– รับการรักษาในหน่วยที่ไม่ทราบความชุกของ MRSA (ไม่มีผล antibiogram)
– พบรายงาน colonization ของ MRSA - · MDR gram negative bacilli (GNB) และ Pseudomonas VAP-HAP
– รับการรักษาในหน่วยที่พบผล isolates ของ gram negative bacilli ดื้อยา >10%
– รับการรักษาในหน่วยที่ไม่ทราบความชุกของ gram negative bacilli (ไม่มีผล antibiogram)
– พบรายงาน colonization ของ MDR Pseudomonas หรือ gram negative
Treatment for HAP/VAP with High-risk MDR
ลักษณะทางคลินิก | เชื้อก่อโรคที่พบบ่อย | ยาปฏิชีวนะ กรณีติดเชื้อแบคทีเรีย |
Low risk MDR หรือมีอาการไม่รุนแรง | P. aeruginosa or other gram negative bacilli S. aureus |
การเลือกใช้ชนิดของยาให้พิจารณาจาก local antibiogram และปรับยาเมื่อทราบเชื้อก่อโรค Empirical:IV ß-lactam- / ß-lactamase inhibitor หรือ IV respiratory fluoroquinolones ระยะเวลารักษา 7 วัน • ß-lactam choices – Ceftriaxone 1-2 g IV q 24h – Ampicillin/sulbactam 1.5-3.0 g IV q 6h – Cefotaxime 1-2 g IV q 8h – Ceftaroline 600 mg IV q 12h • Respiratory Fluoroquinolone – Levofloxacin 750 mg daily IV daily – Moxifloxacin 400 mg IV daily |
Treatment for HAP/VAP with Low-risk MDR
ลักษณะทางคลินิก | เชื้อก่อโรคที่พบบ่อย | ยาปฏิชีวนะ กรณีติดเชื้อแบคทีเรีย |
High risk MDR หรือมีอาการรุนแรง | P. aeruginosa ESBLs, KPC-producing Klebsiella หรือ other gram negative Acinetobacter spp. S. aureus |
การเลือกใช้ชนิดของยาให้พิจารณาจาก local antibiogram และปรับยาเมื่อทราบเชื้อก่อโรค Empirical: Combination: (1) anti-pseudomonas ß-lactams หรือ anti ESBL-producing gram negative (2) respiratory fluoroquinolones และ (3) MRSA coverage ระยะเวลารักษา 7 วัน : Drug choices: เลือกยาตัวใดตัวหนึ่งในแต่ละกลุ่ม (1) Anti-pseudomonas ß-lactams – Ceftazidime 2 g IV q 8h – Cefepime 2 g IV q 8h – Imipenem 0.5 g IV q 6h – Meropenem 1 g IV q 6h – Piperacillin/tazobactam 4.5 g IV q 6h หมายเหตุ: ESBL concern ให้เลือกใช้ Carbapenem (2) Respiratory fluoroquinolones – Levofloxacin 750 mg daily IV daily – Moxifloxacin 400 mg IV daily (3) MRSA coverage – Vancomycin 15 mg/kg IV q 12h หรือ – Linezolid 600 mg PO/IV q 12h |
OTHER RESOURCES
REFERENCES
[1] วลัยพร วังจินดา, “Pleuropulmonary Infections,” in Handbook of Infectious Disease [Book Editors: รุจิภาส สิริจตุภัทร, ภาคภูมิ พุ่มพวง, วลัยพร วังจินดา], 2nd ed., กรุงเทพมหานคร, สาขาวิชาโรคติดเชื้อและอายุรศาสตร์เขตร้อน ภาควิชาอายุรศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล, 2021, pp. 124-129.
[2] Joshua P. Metlay, Grant W. Waterer, Ann C. Long, et al., “Diagnosis and Treatment of Adults with Community-acquiredPneumonia. An Official Clinical Practice Guideline of the American Thoracic Society andInfectious Diseases Society of America,” American Journal of Respiratory and Critical Care Medicine, vol. 200, no. 7, pp. 795-P15, 1 Oct 2019.
[3] Alfred G Smith, “Hospital-Acquired, Health Care-Associated, and Ventilator-Associated Pneumonia Organism-Specific Therapy,” 02 June 2023. [Online]. Available: https://emedicine.medscape.com/article/2012038-overview. [Accessed 03 November 2023].
[4] สมาคมโรคติดเชื้อแห่งประเทศไทย สมาคมอุรเวชช์แห่งประเทศไทย สมาคมเวชบำบัดวิกฤตแห่งประเทศไทย ชรมรมควบคุมโรคติดเชื้อในโรงพยาบาลแห่งประเทศไทย, “แนวเวชปฏิบัติในการดูแลรักษาและป้องกันปอดอักเสบในโรงพยาบาลและปอดอักเสบที่เกี่ยวข้องกับเครื่องช่วยหายใจในผู้ใหญ่ในประเทศไทย,” จุลสารสมาคมเวชบำบัดวิกฤตแห่งประเทศไทย, vol. 15, no. 1, pp. 10-27, 2550.
[5] Kartika Shetty, “Hospital-Acquired Pneumonia (Nosocomial Pneumonia) and Ventilator-Associated Pneumonia,” 02 June 2023. [Online]. Available: https://emedicine.medscape.com/article/234753-overview#a14. [Accessed 05 November 2023].